วันจันทร์ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2553

ปกวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก



การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสมรรถนะหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษา
  ในวิทยาลัยสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา




วิทยานิพนธ์


ของ


คันศร   คงยืน



เสนอต่อมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล  เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา
ตามหลักสูตรศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต  สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
ธันวาคม  2552


การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสมรรถนะหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษา
  ในวิทยาลัยสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา



วิทยานิพนธ์


ของ


คันศร   คงยืน



เสนอต่อมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล  เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา
ตามหลักสูตรศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต  สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
ธันวาคม  2552
ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

THE TRAINING CURRICULUM DEVELOPMENT FOR COMPETENCY ENCOURAGEMENT OF THE HEADS OF VOCATIONAL EDUCATION INCUBATION CENTER INTHE COLLEGE UNDER THE OFFICE
OF VOCATIONAL EDUCATION COMMISSION


THESIS


BY


KHUNSORN   KHONGYUEN


Presented in Partial Fulfillment of the Requirements for
the Doctor of Philosophy Degree in Educational Administration
at Vongchavalitkukul University
December 2009
All right reserved by Vongchavalitkul University
กิตติกรรมประกาศ
               
                วิทยานิพนธ์ฉบับนี้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี  ผู้วิจัยได้รับความช่วยเหลือเป็นอย่างดีจากผู้มีพระคุณหลายท่าน  ผู้มีพระคุณที่สุดในชีวิตคือ คุณพ่อฝึกและคุณแม่ฉุ้น  คงยืน  บุพการีของผู้วิจัย             ที่เลี้ยงดู ขัดเกลา อบรมสั่งสอนผู้วิจัยจนสำเร็จการศึกษาในทุกระดับ  ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณบุคคลทั้งสองท่านเป็นอย่างสูง
                ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงสำหรับ  รองศาสตราจารย์ ดร.วิชัย  วงษ์ใหญ่  ประธานกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ที่คอยให้คำปรึกษา  แนะนำ  เอาใจใส่ดูแลผู้วิจัยด้วยความเป็น               กัลยานมิตร  รองศาสตราจารย์ ดร.ไพศาล  หวังพานิช  กรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ที่ให้ความกรุณาเป็นผู้ชี้แนะในระเบียบวิธีวิจัยแก่ผู้วิจัย  นอกจากนี้ยังคอยช่วยเหลือ  ให้คำปรึกษา  ปรับปรุง  แก้ไขให้วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น และอาจารย์ ดร.สงวนพงศ์  ชวนชม  กรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์อีกท่านหนึ่งที่ให้ความกรุณา  คอยให้คำแนะนำ  ห่วงใยและให้กำลังใจแก่ผู้วิจัยด้วยความปรารถนาดีตลอดมา  ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ทั้งสามท่านสำหรับความเป็นครู             ที่มีให้แก่ลูกศิษย์ตลอดระยะเวลาการศึกษาในหลักสูตร
                ขอขอบพระคุณ  รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริ  เจริญวัย  ที่ได้ดำเนินการเป็นผู้สนทนากลุ่ม รวมถึงขอขอบพระคุณอาจารย์ผู้ร่วมการสนทนากลุ่มทุกท่านที่ได้เสียสละเวลาและแสดงความคิดเห็นอันเป็นประโยชน์แก่ผู้วิจัย โดยเฉพาะผู้อำนวยการนายบุญส่ง  จำปาโพธิ์และผู้อำนวยการนายพิสิษฐ์   เนาวรังษี  ที่เป็นผู้ประสานในการทดลองใช้หลักสูตร
                ขอขอบพระคุณ  ศาสตราจารย์ ดร.ธีระ  รุญเจริญ ผู้เชี่ยวชาญ ที่ได้เป็นผู้ดำเนินการ               เป็นผู้ตรวจสอบเครื่องมือ  ตลอดจนคณะกรรมการผู้ตรวจสอบเครื่องมือทุกท่าน  ที่ได้ให้คำชี้แนะ               และให้ความรู้เกี่ยวกับการวิจัยให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
                ขอขอบพระคุณ  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุดา   ทัพสุวรรณ  ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ์  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์  กลิ่นกุหลาบ  กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ รวมถึงอาจารย์ผู้สอนและผู้ที่ให้คำปรึกษาทุกท่านที่กรุณาช่วยแนะนำ  ให้ข้อคิดเห็นในการปรับปรุงแก้ไขวิทยานิพนธ์
                พลังและกำลังใจที่สำคัญที่สุดในการศึกษาตลอดหลักสูตรนี้  ที่ผู้วิจัยต้องจารึกไว้  คือ             ครอบครัวคงยืน เพื่อน พี่ น้องที่สนับสนุนช่วยเหลือผู้วิจัยทุกด้านจนสำเร็จการศึกษา ตามความมุ่งมั่นและความคาดหวังของผู้วิจัย
คันศร   คงยืน




การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสมรรถนะหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษา
 ในวิทยาลัยสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา



บทคัดย่อ


ของ


คันศร   คงยืน



เสนอต่อมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล  เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา
ตามหลักสูตรศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต  สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
ธันวาคม  2552
ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

คันศร คงยืน. (2552). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสมรรถนะหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะ
      อาชีวศึกษาในวิทยาลัย สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.
วิทยานิพนธ์ ศษ.ด.
     (การบริหารการศึกษา). นครราชสีมา
: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล.
      คณะกรรมการควบคุม : รองศาสตราจารย์ ดร. วิชัย   วงษ์ใหญ่
                   รองศาสตราจารย์ ดร. ไพศาล  หวังพานิช
                 อาจารย์ ดร. สงวนพงศ์   ชวนชม

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสมรรถนะหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษาในวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และ(2)            หาประสิทธิผลหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสมรรถนะหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษา ในวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การวิจัยครั้งนี้ใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง แบบประเมินความสอดคล้องหลักสูตรฝึกอบรม  แบบประเมินความเหมาะสมหลักสูตรฝึกอบรม  แบบสอบทานคุณภาพหลักสูตรฝึกอบรม  และแบบติดตามผลหลังการฝึกอบรม  เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล กลุ่มตัวอย่าง คือ หัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษาในวิทยาลัยสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดสุรินทร์ จำนวน  31 คน โดยดำเนินการวิจัยในรูปแบบการวิจัยและพัฒนา แบ่งเป็น 5 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1  การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน ขั้นตอน ที่ 2  การสร้างหลักสูตรฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 3  การตรวจสอบประสิทธิภาพของหลักสูตรฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 4 การทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรม ขั้นตอนที่ 5  การติดตามประเมินผลและปรับปรุงหลักสูตรฝึกอบรม หลักสูตรฝึกอบรมมีองค์ประกอบ 7 ประการ คือ           1) หลักการและเหตุผล  2) สมรรถนะที่ต้องการพัฒนา 3) วัตถุประสงค์ของหลักสูตร 4) เนื้อหาของหลักสูตร 5) กิจกรรมและระยะเวลาในการฝึกอบรม 6) สื่อที่ใช้ในการฝึกอบรม 7) การวัดและประเมินผล รวมระยะเวลาในการฝึกอบรม 24 ชั่วโมง และนำข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์  เพื่อคำนวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย  ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยค่า  t-test ประเมินประสิทธิภาพและประเมินดัชนีประสิทธิผลของหลักสูตรฝึกอบรม
                ผลการวิจัยพบว่า
1.       หลักสูตรฝึกอบรมมีความสอดคล้องกันทุกประเด็นมีค่าระหว่าง 0.87-1.00
หลักสูตรฝึกอบรมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากมีค่าระหว่าง 3.87 ถึง 4.25                และหลักสูตรฝึกอบรมอยู่ในระดับคุณภาพดีมีค่าระหว่าง 3.75 ถึง 4.37
2.       หลักสูตรฝึกอบรมมีผลสัมฤทธิ์หลังการทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการทดลอง
 ใช้หลักสูตรฝึกอบรมโดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 35.58/68.84 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01  มีประสิทธิภาพ  90.65/86.05 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ที่ตั้งไว้ ค่าดัชนีประสิทธิผลของหลักสูตรฝึกอบรมเท่ากับ 0.75 แสดงว่า  หลังจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้หลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสมรรถนะหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษา ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีสมรรถนะทั้ง 5 ด้านคือสมรรถนะด้านการให้คำปรึกษาธุรกิจ  สมรรถนะด้านการจัดการตนเอง สมรรถนะด้านการบริหารจัดการธุรกิจ  สมรรถนะด้านกฎหมายและจริยธรรมธุรกิจ และสมรรถนะด้านการเขียนแผนธุรกิจ เพิ่มขึ้นร้อยละ 75
3.       จากการติดตามผลการฝึกอบรม หลังจากผ่านการฝึกอบรมไปแล้ว 1 เดือน
ตามความคิดเห็นของผู้บังคับบัญชา  ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติหน้าที่ของหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษา  ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (  = 3.76 ) ความคิดเห็นของหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษาที่เข้ารับการฝึกอบรม  ที่มีต่อการนำความรู้ไปใช้ พบว่า ในภาพรวมของการนำความรู้ไปใช้ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (  = 3.67 ) และหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษาที่เข้ารับการฝึกอบรม   มีความพึงพอใจผลการปฏิบัติงานของตนเอง  ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (  = 3.80 )
และความคิดเห็นของผู้รับบริการ  ที่มีผลต่อความพึงพอใจที่ได้รับบริการ  จากการปฏิบัติหน้าที่ของหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษาภายหลังการฝึกอบรม  มีเพิ่มขึ้นภาพรวมอยู่ในระดับมาก              (  = 3.80 )
            โดยสรุป   หลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสมรรถนะหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษาในวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลสามารถนำไปใช้ในการฝึกอบรมหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษาในวิทยาลัยให้มีสมรรถนะเพิ่มขึ้น


THE TRAINING CURRICULUM DEVELOPMENT FOR COMPETENCY ENCOURAGEMENT OF THE HEADS OF VOCATIONAL EDUCATION INCUBATION CENTER INTHE COLLEGE UNDER THE OFFICE
OF VOCATIONAL EDUCATION COMMISSION


AN ABSTRACT


BY


KHUNSORN   KHONGYUEN


Presented in Partial Fulfillment of the Requirements for
the Doctor of Philosophy Degree in Educational Administration
at Vongchavalitkukul University
December 2009
All right reserved by Vongchavalitkul University

Khunsorn Khongyuen.  (2009). The Training Curriculum Development for Competency
       Encouragement of the Heads of Vacational Education Incubation Center in the College
       Under the Office of Vacational Education Commission.  Doctor of  Philosophy
       (Educational Admininstration) Nakhon Ratchasima : Faculty of  Education.
       Vongchavalitkukul University.
       Dissertation  Advisory Committee :  Assoc.  Prof.  DR.Wichai  Wongyai,  
                                                                  Assoc.  Prof.  DR. Pisarn  Wangpanitch,
                                                                  DR.Sanguanpong  Chuanchom.


Abstract

The purposes of this research were 1) to develop the training curriculum for competency encouragement of the heads of Vocational Education Incubation Centers in the colleges under the Office of Vocational Education Commission, and 2) to determine the effectiveness of the training curriculum for competency encouragement of the heads of Vocational Education Incubation Centers in the colleges under the Office of Vocational Education Commission.
The data were collected by using the structured interview forms, evaluation forms for assessment based on the training curriculum, evaluation forms for assessing the suitability of  the training curriculum, quality checking forms, and follow-up forms after training. The samples were 31 heads of Vocational Education Incubation Centers working under the Office of Vocational Education Commission in Chaiyaphum, Nakhon Ratchasima, Buriram, and Surin provinces. This is a research and development study. The procedures consisted of 5 steps which were; Step 1: studying and analyzing the database. Step 2: designing the training curriculum framework. Step 3: checking the efficiency of the training curriculum. Step 4: implementing the curriculum. Step 5: evaluating and improving the training curriculum. The training curriculum consisted of 7 components which were 1) principal and rational 2) competency that need to be developed 3) objectives of curriculum 4) content of curriculum 5) activity and training duration 6) training materials 7) evaluation. The total training period was 24 hours. The statistical methods used to analyze the data were percentage, mean, standard deviation, and t-test.          
The findings revealed that:
1)       The training curriculum based in all aspects which had the accordance between 0.87-1.00. The suitability of training curriculum was at a high level which was between 3.87- 4.25. The quality was in a good level which was between 3.75- 4.37.
2)       It was found that the training curriculum achievement after the training was higher  
than before the training. The average scores were 35.58 / 68.84 which were significantly different at 0.01 level. The efficiency scores were 90.65 / 86.05 which were higher than the standard score at 80 / 80. The effective  index was 0.75, which meant  that after using the training curriculum, the heads who joined the training had 75% more competencies  in five aspects which were competency of the consultant, competence in self-management, competence in business management, competence in business laws and ethics, and competence in writing business plan.
3)       After one month of joining the training, the supervisors of the heads of Vocational Education Incubation Centers opined that their working behaviors were changed at a high level (   = 3.76). The heads’ opinions toward the knowledge implementation after the training were at high level ( = 3.67). The heads who joined the training were satisfied with their working performances at a high level ( = 3.80). The stakeholders were more satisfied with the working performances of the heads after the training at a high level ( = 3.80).
In conclusion, the training curriculum for competency encouragement of the heads of Vocational Education Incubation Centers in the colleges under the Office of Vocational Education Commission which was created by the researcher was efficient and effective. It can be used for training the heads of Vocational Education Incubation Centers in the colleges, in order for them to be more competent.
















สารบัญ


บทที่


หน้า

1
บทนำ  ……...…………………………………….………………………………...…………..
1

    1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญห  ..……………………………….…….......
1

    1.2 คำถามการวิจัย  …..……………………………………………………….….…..........
7

    1.3 วัตถุประสงค์ของการวิจัย  …..……………………………………………………….
7

    1.4 ความสำคัญของการวิจัย  ….…………………………………………………………
8

    1.5 ขอบเขตของการวิจัย  …..…………………………………………………….……….
8

    1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ  …..………………………………………………………..………..
8
2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง  ……...………………………………………...…………..
12

    2.1 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาและ การส่งเสริม
         ผู้ประกอบการSMEsในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  .…………………...………….

12

         2.1.1 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  .…………………………………..………………..
12

         2.1.2 สถาบัน SMEs ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  …..………………..………….      
13

         2.1.3 วิทยาลัย สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา  ….……………..   
17

    2.2 แนวคิดเกี่ยวกับสมรรถนะ  …..………………………..…………………….……….
18

          2.2.1 ความสำคัญของสมรรถนะ  …….…………………………………...………..
21
 
          2.2.2 ความหมายของสมรรถนะ  ..………………………………………...………...
27

          2.2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสมรรถนะ  ….…………………………………….….
30

          2.2.4 สมรรถนะหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษา  …..……………………...…….
38

    2.3 ศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพอิสระ  ..……………..…………..
44

          2.3.1 การบ่มเพาะธุรกิจ  …….……………………………………………………….
44

          2.3.2 ศูนย์บ่มเพาะธุรกิจต่างประเทศ  …….………………………..………………
49

          2.3.3 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ  ..…………………...………….....  
51

          2.3.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพ  …..…………...…………………  
55

    2.4 การพัฒนาหลักสูตรอบรม  ……..………………………………...……………….....
57

         2.4.1  ความหมายของการพัฒนาหลักสูตร ……..………….…………….…………
57

สารบัญ  (ต่อ)

บทที่ 

หน้า
2



         2.4.2  องค์ประกอบของหลักสูตร  ……………………………..………...…………
67

         2.4.3  ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการฝึกอบรม  …………………………….……………
72

 2.4.4  รูปแบบของการฝึกอบรม  ……….……………………………………………
74

         2.4.5  หลักของการฝึกอบรม  ………………………………………………………...
77

         2.4.6  เทคนิคการฝึกอบรม  ………………...………………………………………...
80

         2.4.7  ขั้นตอนในการสร้างหลักสูตรฝึกอบรม  ……………………………….……
84

         2.4.8  กระบวนการเรียนรู้  …………………………………………………................
92

2.4.8.1  การเรียนรู้จากประสบการณ์  ……………………………...............

93


                     2.4.8.2  การเรียนรู้ตามสภาพจริง  ………………………….........................
108

         2.4.9  การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง  ………………………………………
114

                     2.4.9.1  กระบวนการหรือขั้นตอนการประเมินผลตามสภาพจริง  ……..
124

                     2.4.9.2  สิ่งที่ควรประเมินในการประเมินตามสภาพจริง  …..…...............
125

                     2.4.9.3  วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินตามสภาพจริง  …..….
125

     2.5 กรอบแนวคิดในการวิจัย  ……………………………….…………………….…….
143
3
วิธีดำเนินการวิจัย  ……………….…………………………………………………………...
146

           3.1 การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน  ……………..………………….....…...
147

           3.2 การสร้างหลักสูตรฝึกอบรม  …………………..………….………………..…..
156

           3.3 การตรวจสอบประสิทธิภาพหลักสูตรฝึกอบรม  ………...…………………..
164

           3.4 การทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรม  ……………………..………........................
167

           3.5 การติดตามประเมินผลและปรับปรุงหลักสูตรฝึกอบรม  …..........................
170
4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล  ………………………………………………………………..……..
173

           4.1 ผลการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน  …………………............................
173

           4.2 ผลการสร้างหลักสูตรฝึกอบรม  ………………..…………...………………...
179

           4.3 ผลการตรวจสอบประสิทธิภาพหลักสูตรฝึกอบรม  ………….......................
190

           4.4 ผลการทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรม  ……….…………..…………………….
192

           4.5 ผลการติดตามประเมินผลและปรับปรุงหลักสูตรฝึกอบรม  .........................
197

สารบัญ  (ต่อ)

บทที่ 

หน้า
5
สรุปผล  อภิปราย  ข้อเสนอแนะ  ……………...………………………………………..…..
208

           5.1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย  ……………………….………………………...…...
208

           5.2 วิธีการวิจัย  …………………………………………….…..…….…………….…
208

           5.3 สรุปผลการวิจัย  ………………………………………..………………………...
210

                 5.3.1 การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อเสริมสมรรถนะหัวหน้า
                          ศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษา  ………………………………………..……….

211

                 5.3.2 การหาประสิทธิผลของหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อเสริมสมรรถนะ
                          หัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษา  ……………………….………………

212

           5.4 อภิปรายผลการวิจัย  ……………………………………………………………..
214

                 5.4.1 การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อเสริมสมรรถนะ
                          หัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษา  ……………………….………………

214

                 5.4.2 การหาประสิทธิผลของหลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อเสริมสมรรถนะ
                          หัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษา  ……………………….………………

217

         5.5 ข้อเสนอแนะ  ……………………………………………………..……………...
218

                   5.5.1 ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้  …………………………....
218

5.5.2 ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป  …………………………….
219

บรรณานุกรม  …………………………………...……………………………………………
220

ภาคผนวก  ……………..………………………...……………………………………………
220

ภาคผนวก     รายชื่อและข้อความสัมภาษณ์ ผู้เป็น The Best
of the Best  ………………………...……………………………………………

239

ภาคผนวก     รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ 7 คน  ………………….…………………
251

ภาคผนวก     รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ 8 คน  ………………………………….
ภาคผนวก     ขอความอนุเคราะห์เก็บข้อมูลเพื่อทดลองใช้เครื่องมือ 
253
258

ภาคผนวก     หลักสูตรฝึกอบรม  ……………………..……………………
267

ภาคผนวก     รายชื่อผู้เข้ารับการฝึกอบรมและบรรยากาศการฝึกอบรม
273

ภาคผนวก     เครื่องมือที่ใช้ประกอบในการฝึกอบรม  …………………
290

สารบัญ  (ต่อ)

บทที่ 

หน้า

ภาคผนวก  ……………..………………………...……………………………………………


ภาคผนวก    ค่าความเชื่อมั่น ค่าอำนาจจำแนก  ค่าความสอดคล้อง
                   ความเหมาะสม คุณภาพหลักสูตร แบบทดสอบความรู้  ……………..…...

302

ประวัติผู้วิจัย…………………………………………………………….…………………..…
318





















สารบัญตาราง


ตาราง

หน้า

1
การสังเคราะห์ความหมายของสมรรถนะ  …………………………….…………..…
29
2
สรุปความรู้  ทักษะ  และคุณลักษณะ  ของหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษา      ในวิทยาลัย  ……………………………………………………………………….………

40
3
การวิเคราะห์องค์ประกอบหลักสูตรฝึกอบรม  ………………………………………
71
4
ผลการประเมินความสอดคล้องของโครงร่างหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสมรรถนะหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษาในวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา  ………………………………………….……………..


184
5
ผลการประเมินความเหมาะสมของโครงร่างหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสมรรถนะหัวหน้า ศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษาในวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา  ………………………………………….……………..


185
6
ผลการตรวจสอบคุณภาพโครงร่างหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสมรรถนะหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษาในวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา  …………………………………………………………………………..
181

186
7
ผลการประเมินความสอดคล้องของเนื้อหาในโครงร่างหลักสูตรฝึกอบรมกับวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม  ………………………………………………..………

190
8
ผลการประเมินความเหมาะสมของเนื้อหาในโครงร่างหลักสูตรฝึกอบรมกับวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม  …………………………………………………...…..

191
9
ผลการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาของแบบทดสอบความรู้ของหลักสูตรฝึกอบรม  ………………………………………………………………………………….

192
10
ผลการตรวจสอบค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ (reliability)  ………..………...
192
11
ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนการฝึกอบรม
และหลังการฝึกอบรม  ………………………………...………………..…………...….

193
12
ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละ ของคะแนนจากการทำแบบฝึกทักษะ  …………………………………………………...…………………..……………

194
13
ผลการทดสอบวัดความรู้ก่อนการฝึกอบรม และหลังการฝึกอบรม  …….……….
194


สารบัญตาราง  (ต่อ)

ตาราง

หน้า

14
ประสิทธิภาพของหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสมรรถนะหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษาในวิทยาลัย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา  …………

196
15
ผลการประเมินประสิทธิผลของหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสมรรถนะหัวหน้า
 ศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษาในวิทยาลัยสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา  ………………………….……………………………………………………


197
16
ผลการประเมินมีต่อการเปลี่ยนแปลง การปฏิบัติหน้าที่ของหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษา ผู้เข้ารับการฝึกอบรม โดยผู้บังคับบัญชา  ………………………………

198
17
ผลการประเมินการนำความรู้ไปใช้และความพึงพอใจในผลการปฏิบัติงานของหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษา  ผู้เข้ารับการฝึกอบรม  ……………...……………

200
18
ผลการประเมินความพึงพอใจที่ได้รับบริการจากการปฏิบัติหน้าที่ของหัวหน้าศูนย์บ่มเพาะอาชีวศึกษาในวิทยาลัยผู้เข้ารับการฝึกอบรม  ……………...…………

204















สารบัญภาพประกอบ



ภาพประกอบ
                                                                                               

หน้า

1
ความสัมพันธ์ของความรู้ ทักษะ สมรรถนะและคุณลักษณะ
อื่น ๆ ของบุคคลนั้น  ……………………………………………………………

18
2
โมเดลภูเขาน้ำแข็ง  ………………………………………………………...……
19
3
ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะและผลการปฏิบัติงานที่ต้องการ  ……..…
20
4
ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของบุคคล สมรรถนะ
และผลงานของสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน  ………..……

23
5
ประเภทของCompetency (Competency Model)  …………………………..
26
6
ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของบุคคลและ สมรรถนะทั้ง 5 ด้าน  .....
44
7
ลักษณะรูปแบบของการบ่มเพาะธุรกิจ  ………………………………………
48
8
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของเคอร์(Kerr)  ………………………..………
58
9
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของอเล็กซานเดอร์และเลวิส
(Alexander and Lewis)  …………………………………………………………

59
10
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรแบบครบวงจรของวิชัย  วงษ์ใหญ่  ………...….
62
11
กระบวนการจัดทำหลักสูตรของเซเลอร์ และอเล็กซานเดอร์
(Sayler and Alexander)  …………………………………………………………

65
12
วัฏจักรและกระบวนการพัฒนาหลักสูตรของสงัด อุทรานันท์  ……...……
66
13
ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบพื้นฐานหลักสูตรของบิชอบ(Bishop)  .…
68
14
องค์ประกอบของหลักสูตรในแนวคิดความสัมพันธ์ของทาบา(Taba)  ….
69
15
องค์ประกอบของประสบการณ์การเรียนรู้ของคอล์บ(Kolb)  ………………
105
16
การเรียนรู้จากการปฏิบัติ  ……………………………………………...………
108
17
แผนภูมิแสดงเครือข่ายของการประเมินตามสภาพจริง  …………...………
123
18
แสดงคุณลักษณะของการประเมินจากทางเลือกใหม่ของ  ………...………
สมศักดิ์  ภู่วิภาดาวรรธน์  ………………………………………………………

124
19
การประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริงกับการเรียนรู้ตามสภาพจริง  …..……
140
20
กรอบแนวคิดการวิจัย  ………………………………………………….………...
145


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น